จะเอาอะไรกับผู้ชายลันลา


วันอาทิตย์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

Happy NewYear_วันสิ้นโลก

Happy
เขียนโดย sayun ที่ 18:59 ไม่มีความคิดเห็น:
ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปที่ Twitterแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest
บทความที่ใหม่กว่า หน้าแรก
สมัครสมาชิก: บทความ (Atom)


เมืองหลวง(และเมืองใหญ่สุด)
จาการ์ตา
ภาษาทางการ
ภาษาอินโดนีเซีย
การปกครอง
ประชาธิปไตยระบบประธานาธิบดี
-
ประธานาธิบดี
ซูซีโล บัมบัง ยูโดโยโน
-
รองประธานาธิบดี
โบเอดิโอโน
เอกราช
จาก เนเธอร์แลนด์
-
ประกาศ
17 สิงหาคม พ.ศ. 2488
-
เป็นที่ยอมรับ
27 ธันวาคม พ.ศ. 2492
พื้นที่
-
รวม
1,904,569 ตร.กม. (16)735,355 ตร.ไมล์
-
แหล่งน้ำ (%)
4.85%
ประชากร
-
2548 (ประเมิน)
222,781,000 (4)
-
2543 (สำมะโน)
206,264,595
-
ความหนาแน่น
116 คน/ตร.กม. (84)302 คน/ตร.ไมล์
จีดีพี (อำนาจซื้อ)
2548 (ประมาณ)
-
รวม
977.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (15)
-
ต่อหัว
4,458 ดอลลาร์สหรัฐ (110)
ดพม. (2546)
0.697 (กลาง) (110)
สกุลเงิน
รูเปียห์ (IDR)
เขตเวลา
มีหลายเขต (UTC+7 to +9)
-
(DST)
not observed (UTC+7 to +9)
ระบบจราจร
ซ้ายมือ
โดเมนบนสุด
.id
รหัสโทรศัพท์
62


คำขวัญ: Bhinneka Tunggal Ika


คำขวัญ: Bhinneka Tunggal Ika
เพลงชาติ: อินโดเนเซีย รายา

สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
Republik Indonesia (อินโดนีเซีย)


ผู้ติดตาม

คลังบทความของบล็อก

  • ▼  2012 (1)
    • ▼  กุมภาพันธ์ (1)
      • Happy NewYear_วันสิ้นโลก

เกี่ยวกับฉัน

sayun
ดูโปรไฟล์ทั้งหมดของฉัน

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (อินโดนีเซีย: Bahasa Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (อินโดนีเซีย: Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนและทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียว (อินโดนีเซีย: Kalimantan) , ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินี (อินโดนีเซีย: Irian) และ ประเทศติมอร์ตะวันออกบนเกาะติมอร์ (อินโดนีเซีย: Timor)

ประวัติศาสตร์
อินโดนีเซียประกอบด้วยหมู่เกาะที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาช้านาน แต่ต่อมาต้องตกอยู่ภายใต้การปกครองของเนเธอร์แลนด์อยู่ประมาณ 300 ปี ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2485 ซึ่งเป็นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นบุกอินโดนีเซีย และทำการขับไล่เนเธอร์แลนด์เจ้าอาณานิคมของอินโดนีเซียออกไปได้สำเร็จ จึงทำให้ผู้นำอินโดนีเซียคนสำคัญในสมัยนั้นให้ความร่วมมือกับญี่ปุ่นแต่ไม่ได้ให้ความไว้วางใจกับญี่ปุ่นมากนัก เพราะมีเหตุเคลือบแคลงคือ เมื่อผู้รักชาติอินโดนีเซียจัดตั้งขบวนการต่างๆขึ้นมา ญี่ปุ่นจะขอเข้าร่วมควบคุมและดำเนินงานด้วย
เมื่อญี่ปุ่นแพ้สงครามและประกาศยอมจำนนต่อฝ่ายพันธมิตร อินโดนีเซียได้ถือโอกาสประกาศเอกราชใน พ.ศ. 2488 แต่เนเธอร์แลนด์เจ้าของอาณานิคมเดิมไม่ยอมรับการประกาศเอกราชของอินโดนีเซีย จึงยกกองทัพเข้าปราบปราม ผลจากการสู้รบปรากฏว่าเนเธอร์แลนด์ไม่สามารถปราบปรามกองทัพอินโดนีเซียได้ จากนั้นอังกฤษซึ่งเป็นพันธมิตรกับเนเธอร์แลนด์จึงเข้ามาช่วยไกล่เกลี่ยเพื่อให้ยุติความขัดแย้งกัน โดยให้ทั้งสองฝ่ายลงนามในข้อตกลงลิงกัดยาติ (Linggadjati Agreement) เมื่อ พ.ศ. 2489 โดยเนเธอร์แลนด์ยอมรับอำนาจรัฐของรัฐบาลอินโดนีเซียในเกาะชวาและสุมาตรา ต่อมาภายหลังเนเธอร์แลนด์ได้ละเมิดข้อตกลงโดยได้นำทหารเข้าโจมตีอินโดนีเซียทำให้ประเทศอื่นๆ เช่น ออสเตรเลีย และอินเดียได้ยื่นเรื่องให้คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเข้าจัดการ สหประชาชาติได้เข้าระงับข้อพิพาทโดยตั้งคณะกรรมการประกอบด้วย ออสเตรเลีย เบลเยียม และสหรัฐอเมริกา เพื่อทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยประนีประนอมและได้เรียกร้องให้หยุดยิง แต่เนเธอร์แลนด์ได้เข้าจับกุมผู้นำคนสำคัญของอินโดนีเซีย คือ ซูการ์โนและฮัตตาไปกักขัง ต่อมาทหารอินโดนีเซียสามารถช่วยเหลือนำตัวผู้นำทั้งสองออกมาได้ ในระยะนี้ทุกประเทศทั่วโลกต่างตำหนิการกระทำของเนเธอร์แลนด์อย่างยิ่งและคณะมนตรีความมั่นคงได้กดดันให้เนเธอร์แลนด์มอบเอกราชแก่อินโดนีเซีย
ในวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2492 อินโดนีเซียได้รับเอกราชแต่ความยุงยากยังคงมีอยู่เนื่องจากเนเธอร์แลนด์ไม่ยินยอมให้รวมดินแดนอิเรียนตะวันตกเข้ากับอินโดนีเซีย ทั้งสองฝ่ายจึงต่างเตรียมการจะสู้รบกันอีก ผลที่สุดเนเธอร์แลนด์ก็ยอมโอนอำนาจให้สหประชาชาติควบคุมดูแลอิเรียนตะวันตกและให้ชาวอิเรียนตะวันตกแสดงประชามติว่าจะรวมกับอินโดนีเซียหรือไม่ ผลการออกเสียงประชามติปรากฏว่าชาวอิเรียนตะวันตกส่วนใหญ่ต้องการรวมกับอินโดนีเซีย สหประชาชาติจึงโอนอิเรียนตะวันตกให้อยู่ในความปกครองของอินโดนีเซียเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2506

แผนที่แสดงจังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย

ทรัพยากรและเศรษฐกิจ
ป่าไม้ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าดงดิบ เป็นประเทศที่มีป่าไม้มากที่สุด ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ผลิตผลจากป่าไม้ส่วนใหญ่เป็นไม้เนื้อแข็ง แร่ธาตุ แร่ธาตุที่สำคัญ ได้แก่ น้ำมันปิโตรเลียมทำรายได้ให้กับ ประเทศมากที่สุด อินโดนีเซียเป็นสมาชิกขององค์การประเทศผู้ส่งน้ำมันเป็น สินค้าออก เกษตรกรรม มีการปลูกพืชแบบขั้นบันได พืชเศรษฐกิจ ได้แก่ข้าว ยาสูบ ข้าวโพด เครื่องเทศ ประมง ลักษณะภูมิประเทศเป็นหมู่เกาะทำใหอินโดนีเซียสามารถจับสัตว์น้ำได้มาก อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมที่สำคัญ ได้แก่ การกลั่นน้ำมัน การต่อเรือ เป็นต้น
ความสัมพันธ์กับประเทศไทย
ประเทศไทยและอินโดนีเซียมีความสัมพันธ์ทางการทูตที่ดีต่อกันมาโดยตลอด และให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน อินโดนิเซียเป็นสมาชิกสมาคมอาเซียนเหมือนประเทศไทย และมีสำนักงานใหญ่ขององค์การอาเซียนตั้งอยู่ที่กรุงจาการ์ตา

การเมืองการปกครอง

ประเทศอินโดนีเซียมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเป็นประมุขและทำหน้าที่ปกครองประเทศและดูแลประเทศและ
การแบ่งเขตการปกครอง
ปัจจุบันประเทศอินโดนีเซียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 30 จังหวัด (provinces - propinsi-propinsi) 2 เขตปกครองพิเศษ* (special regions - daerah-daerah istimewa) และ 1 เขตนครหลวงพิเศษ** (special capital city district - daerah khusus ibukota) โดยมีเมืองหลวงหรือเมืองหลักของแต่ละจังหวัด ได้แก่
เกาะสุมาตรา
เขตปกครองพิเศษอาเจะห์ -บันดาร์อาเจะห์*
จังหวัดสุมาตราเหนือ -เมดาน
จังหวัดสุมาตราใต้ -ปาเลมบัง
จังหวัดสุมาตราตะวันตก -ปาดัง
จังหวัดเรียว -เปอกันบารู
หมู่เกาะเรียว -ตันจุงปีนัง
จังหวัดจัมบี -จัมบี
หมู่เกาะบังกาเบลีตุง -ปังกัลปีนัง
จังหวัดเบงกูลู -เบงกูลู
จังหวัดลัมปุง -บันดาร์ลัมปุง
เกาะชวา
เขตนครหลวงพิเศษจาการ์ตา**
จังหวัดชวากลาง -เซมารัง
จังหวัดชวาตะวันออก -สุราบายา
จังหวัดชวาตะวันตก -บันดุง
จังหวัดบันเตน -เซรัง
เขตปกครองพิเศษย็อกยาการ์ตา*
หมู่เกาะซุนดาน้อย
จังหวัดบาหลี -เดนปาซาร์
จังหวัดนูซาเต็งการาตะวันออก -คูปัง
จังหวัดนูซาเต็งการาตะวันตก -มาตาราม
เกาะบอร์เนียว
จังหวัดกาลีมันตันกลาง -ปาลังการายา
จังหวัดกาลีมันตันใต้ -บันจาร์มาซิน
จังหวัดกาลีมันตันตะวันออก -ซามารินดา
จังหวัดกาลีมันตันตะวันตก -ปนตีอานัก
เกาะซูลาเวซี
จังหวัดโกรอนตาโล -โกรอนตาโล
จังหวัดซูลาเวซีเหนือ -มานาโด
จังหวัดซูลาเวซีกลาง -ปาลู
จังหวัดซูลาเวซีใต้ -มากัสซาร์
จังหวัดซูลาเวซีตะวันออกเฉียงใต้ -เกินดารี
จังหวัดซูลาเวซีตะวันตก -มามูจู
หมู่เกาะโมลุกกะ
จังหวัดมาลูกู -อัมบน
จังหวัดมาลูกูเหนือ -เตอร์นาตี
เกาะนิวกินี
จังหวัดปาปัว -จายาปุระ
จังหวัดปาปัวตะวันตก -มานกวารี

อ้างอิง

ประเทศอินโดนีเซีย

ด • พ • ก
อินโดนีเซียหัวข้อเกี่ยวกับประเทศอินโดนีเซีย
ประวัติศาสตร์
ก่อนเป็นอาณานิคม · อาณานิคม · เป็นเอกราช · ระเบียบใหม่ · ปัจจุบัน

รัฐบาลและ การเมือง
ปัญจศีล · รัฐธรรมนูญ · ประธานาธิบดี (รายชื่อ) · คณะรัฐมนตรีสหภาพอินโดนีเซียที่สอง · สภาที่ปรึกษาประชาชน · ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ · พรรคการเมือง · การเลือกตั้ง · การทหาร · กฏหมาย · บังคับใช้กฏหมาย
เศรษฐกิจ
บริษัท · การสื่อสาร · วิทยาศาสตร์ · Stock Exchange · การท่องเที่ยว · คมนาคม
ภูมิศาสตร์ และประวัติศาสตร์ธรรมชาติ
ธรณีวิทยา · เกาะ · ทะเลสาบ · ภูเขา · แม่น้ำ · ภูเขาไฟ · สวนสาธารณะ · สิทธิมนุษยชน (LGBT)
สังคมและประชากร
นูซันตารา · เขตการปกครอง (จังหวัด) · ชนกลุ่มน้อย · สาธารณสุข · ภาษาราชการ · ภาษาอื่นๆ · ศาสนา · สตรี
วัฒนธรรม
สถาปัตยกรรม · ศิลปะ · ภาพยนตร์ · อาหาร · นาฏศิลป์ · การศึกษา · วีรบุรุษ/สตรี · เพลงพื้นบ้าน · วรรณคดี · ปัญจักสีลัต · สื่อ · ดนตรี · เทศกาล · กีฬา
สัญญลักษณ์
เพลงชาติ · ตราแผ่นดิน · ธง · ครุฑ · คำขวัญ · อีบู เปอร์ตีวี

ด • พ • ก
ประเทศและดินแดนในทวีปเอเชีย
ประเทศ
เอเชียเหนือ
รัสเซีย1
เอเชียกลาง
คาซัคสถาน · คีร์กีซสถาน · เติร์กเมนิสถาน · ทาจิกิสถาน · อุซเบกิสถาน
เอเชียตะวันตกเฉียงใต้
กาตาร์ · จอร์เจีย1 · จอร์แดน · ซาอุดีอาระเบีย · ซีเรีย · ไซปรัส2 · ตุรกี1 · บาห์เรน · เยเมน · เลบานอน · สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ · อัฟกานิสถาน · อาเซอร์ไบจาน1 · อาร์เมเนีย2 · อิรัก · อิสราเอล · อิหร่าน · อียิปต์4 · โอมาน
เอเชียใต้
เนปาล · บังกลาเทศ · ปากีสถาน · ภูฏาน · มัลดีฟส์ · ศรีลังกา · อินเดีย
เอเชียตะวันออก
เกาหลีใต้ · เกาหลีเหนือ · จีน · ญี่ปุ่น · มองโกเลีย
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
กัมพูชา · ติมอร์ตะวันออก3 · ไทย · บรูไน · พม่า · ฟิลิปปินส์ · มาเลเซีย · ลาว · เวียดนาม · สิงคโปร์ · อินโดนีเซีย3

ดินแดน
ฮ่องกง (จีน) · ชัมมูและกัษมีระ (อินเดีย/ปากีสถาน/จีน) · เคอร์ดิสถาน (อิรัก) · มาเก๊า (จีน) · นากอร์โน-คาราบัค1 (อาเซอร์ไบจาน) · ปาเลสไตน์: ฉนวนกาซา · เวสต์แบงก์ (อิสราเอล/รัฐบาลปาเลสไตน์) · ไต้หวัน (จีน/รัฐบาลไต้หวัน) · สาธารณรัฐตุรกีแห่งไซปรัสเหนือ1 (ไซปรัส)
(1) อาจจัดให้อยู่ในทวีปยุโรป; (2) อยู่ในทวีปเอเชีย แต่มีความสัมพันธ์ทางการเมืองสังคมกับทวีปยุโรป; (3) อาจจัดพื้นที่บางส่วน/ทั้งหมดให้อยู่ในเขตโอเชียเนีย; (4) พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในทวีปแอฟริกา

ด • พ • ก
ประเทศและดินแดนในโอเชียเนีย
ออสตราเลเซีย
ออสเตรเลีย · เกาะนอร์ฟอล์ก · หมู่เกาะโคโคส (คีลิง) · เกาะคริสต์มาส

เมลานีเซีย
ติมอร์ตะวันออก · ฟิจิ · หมู่เกาะโมลุกกะ และ นิวกินีตะวันตก (อินโดนีเซีย) · นิวแคลิโดเนีย · ปาปัวนิวกินี · หมู่เกาะโซโลมอน · วานูอาตู
ไมโครนีเซีย
กวม · คิริบาส · หมู่เกาะมาร์แชลล์ · หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา · ไมโครนีเซีย · นาอูรู · ปาเลา
โพลินีเซีย
อเมริกันซามัว · หมู่เกาะคุก · เฟรนช์โปลินีเซีย · ฮาวาย · นิวซีแลนด์ · นีอูเอ · หมู่เกาะพิตแคร์น · ซามัว · โตเกเลา · ตองกา · ตูวาลู · วาลลิสและฟุตูนา

ด • พ • ก
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
รัฐสมาชิก
กัมพูชา · ไทย · บรูไน · พม่า · ฟิลิปปินส์ · มาเลเซีย · ลาว · เวียดนาม · สิงคโปร์ · อินโดนีเซีย
ประเทศสังเกตการณ์
ปาปัวนิวกินี · ติมอร์ตะวันออก
ดิอาเซียนเวย์

ด • พ • ก
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปก)
เกาหลีใต้ · แคนาดา · จีน · ชิลี · ญี่ปุ่น · นิวซีแลนด์ · บรูไน ปาปัวนิวกินี · เปรู · ไทย · ฟิลิปปินส์ · มาเลเซีย · เม็กซิโก · รัสเซีย เวียดนาม · สิงคโปร์ · ออสเตรเลีย · อินโดนีเซีย · สหรัฐอเมริกา · ไต้หวัน · ฮ่องกง


ด • พ • ก
โอเปก (OPEC)
สมาชิกปัจจุบัน
กาตาร์ · คูเวต · ซาอุดีอาระเบีย · ไนจีเรีย · ลิเบีย · เวเนซุเอลา สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ · อิรัก · อิหร่าน · แอลจีเรีย · แองโกลา · เอกวาดอร์

อดีตสมาชิก
อินโดนีเซีย (2518-2537) · กาบอง (2505-2551)

ด • พ • ก
ประเทศสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
สมาชิกถาวร
จีน · ฝรั่งเศส · รัสเซีย · สหราชอาณาจักร · สหรัฐอเมริกา

สิ้นสุดวาระ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555
โคลอมเบีย · เยอรมนี · อินเดีย · โปรตุเกส · แอฟริกาใต้
สิ้นสุดวาระ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556
อาเซอร์ไบจาน · กัวเตมาลา · โมร็อกโก · ปากีสถาน · โตโก

ด • พ • ก
จี 20
ประเทศอาร์เจนตินา · ประเทศออสเตรเลีย · ประเทศบราซิล · ประเทศแคนาดา · ประเทศจีน · สหภาพยุโรป · ประเทศฝรั่งเศส · ประเทศเยอรมนี · ประเทศอินเดีย · ประเทศอินโดนีเซีย · ประเทศอิตาลี ประเทศญี่ปุ่น · ประเทศเม็กซิโก · ประเทศรัสเซีย · ประเทศซาอุดีอาระเบีย ·ประเทศแอฟริกาใต้ · ประเทศเกาหลีใต้ · ประเทศตุรกี · สหราชอาณาจักร · สหรัฐอเมริกา



การเดินทาง ธีม. ขับเคลื่อนโดย Blogger.